Day Trading Strategy

Day Trading Strategy

Day Trading Strategy

                เนื่องจากtrading styles แบ่งหลักการเทรดออกไปต่างๆ ตามการถือออเดอร์ต่างกันออกไปที่เทรดแบบposition trading,swing trading,day tradingและscalp tradingสำหรับเทรดเดอร์รายย่อยกลยุทธday tradingน่าจะตอบโจทย์ได้ดีที่สุดเพราะถ้าเทรดแบบscalp tradingก็จะเสี่ยงเกินไปและไม่สามารถเก็บบีบจากราคาวิ่งยาวๆได้เพราะกลยุทธ์แบบนั้นเน้นเทรดตอนเห็นmomentumชัดๆแล้วดูระยะจุดราคาวิ่งไปประกอบแต่ Day tradingกลับต่างออกไปเป็นการเทรดที่เน้นภาพใหญ่ขึ้นเน้นเก็บการเคลื่อนไหวราคายาวๆ

                อีกอย่างหนึ่งที่Day tradingน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีคือแต่ละวันprice levels support/resistance demand/supply หรืออื่นๆเปลี่ยนไปทุกวันการจะมาถือรอเทรดยาวๆแบบposition tradingและswing traing กลับยากเพราะเงื่อนไขทุนถ้าราคาวิ่งสวนหรือถือรอเพื่อเข้าต่อDay tradingเป็นการที่เน้นปิดการเทรดวันต่อวัน หรือาจถือต่ออีก1-2วันถ้าราคายังยืนยันและเป็นการฝึกปล่อยให้กำไรสะสมยาวๆได้ด้วย

                อีกอย่างหนึ่งprice levelที่เห็นในDayสามารถดึงดูดเทรดเดอร์ได้เยอะเพราะเห็นได้ชัดในหลายระดับเทรดเดอร์และการถือรอกรณีtrapped tradersก็ยังเยอะกับจุดที่ราคาเพิ่งเปลี่ยนข้างเพราะถ้านานเกิน Dayไปเป็นW1 price levelกลุ่มเทรดเดอร์ที่เป็นtrapped tradersอาจออกไปเยอะ

                เพราะไม่อยากถือรอนานและช่วงที่ผ่านมาสามารถทำกำไรสะสมพอที่จะปิดชดเชยออเดอร์ที่ติดลบได้ถ้าปิดเลยทำให้เวลาราคากลับมาเทรดday price levelที่ห่างจากจุดอ้างอิงไม่ค่อยทำงานดีหรือต้องรอให้ price structureใหม่เกิดขึ้นก่อนซึ่งต่างจากจุดที่เกิดใกล้ๆ

กลยุทธคือ

ข้อ1.เปิดชาร์ตD1หาแท่งเทียนที่เป็นผลจากการเข้าเทรดจริงๆมีการชนะฝั่งตรงข้าม อาจเป็นในรูปbreakout/breakdownที่ไม่ไกลจากราคาปัจจุบัน

ข้อ 2. ดูว่าถ้า imbalance ที่เป็นผลที่เกิดขึ้นจากข้อแรกเทรดเดอร์กลุ่มไหนจะเดือดร้อนถ้าราคาไปต่อถ้าเป็นช่วงday consolidationหลายแท่งเทียนหน่อยจะสะสมออเดอร์มากเพราะออเดอร์ที่มาจากประเภทเทรดเดอร์ประเภทต่างๆ(เช่น พวกเทรด Scalping พวกเทรด 15 นาที พวกเทรด 30 นาทีหรือพวกเทรดPrice action TF ที่ต่ำกว่าวัน)ที่เทรดภายใต้กรอบข้อมูลD1  

3.เปิดtimeframeย่อย(แนะนำให้ใช้ H1)เพื่อดูว่าตอนราคาวิ่งเกิดimbalanceนั้นราคาเปิดเผยตรงไหนที่ราคาเกิดการโต้ตอบเพื่อจะได้หาจุดเข้าจะช่วยให้เข้าเทรดถูกที่

4. ระยะทำกำไรProfit zoneหรือrisk:rewardต้องมากพอ

5. ใช้timeframeย่อยH1เพื่อหาจุดเข้าตอนเปิดออเดอร์จริงๆอาจลงไปดูM15เพื่อให้สัมพันธ์กับH1ก่อนจะดี  

6. ระยะห่างจากจุด D1 imbalance และตอนราคากลับเพื่อเข้าเทรดผ่านมาไม่นาน

                จากตัวอย่างด้านบน การเทรด D1 แต่ละ setup  เป้าทีพีจะอยู่ที่ 50-70-100 บีบขึ้นในแต่ละออเดอร์  เริ่มด้วย D1 เพื่อดูว่าเราจะตั้ง Day Trading Strategy อย่างไร เลข 1 เกิด imbalance ยืนยันการเข้าเทรด ภายในแท่งเทียนเดียวราคาลงแรงและปิดต่ำกว่า low ทั้งหมดของกรอบเลข 2 ตรงส่วนนี้เราได้ trapped traders ที่เปิด buy positoins หลังจากที่ราคาเอาชนะเลข 3 แล้วพยามเทรดต่อหลัง breakout เลข 3 แต่ราคาไม่ไปไหนและหลายวันผ่านมา (ดูจากบาร์ day หลายแท่งที่อยู่ในกรอบก็สามารถสะสม positions จากพวกที่เทรดใน range กรอบราคาไปในตัว)  บาร์ D1 ต่อมา เราเห็นว่าราคาไม่ไปไหนมาก มาปิดต่ำกว่าบาร์ D1 imbalance  เล็กน้อย เห็นหางบาร์ยาวๆ ทั้ง 2 ข้างบ่งบอกถึงไม่มีฝ่ายไหนชนะต่อ แต่ที่ข้อมูลที่ได้จากบาร์ประเภทที่แทงหางยาวๆ เมื่อเราคิดถึงเรื่องออเดอร์คือ ราคาได้ไปเคลียร์ออเดอร์ตรงที่ทางหางบาร์ไปให้ด้วย เราก็ใช้ข้อมูลนี้ประกอบการวิเคราะห์บาร์ D1 imbalance ต่อ ราคาก็ยืนยันเจตนาการเข้าเทรดของขาใหญ่อยู่ มาดูส่วน timeframe ย่อยประกอบที่หาจุดเข้าเทรด ชาร์ต H1 การวิ่งลงแรงๆ ของ D1 imbalance ลงมาถึงกรอบเลข 5 ตอนที่ราคาวิ่งลงเราจะเห็นว่าราคาโต้ตอบจุดแรกที่เลข 4 เพราะเราเห็นบาร์ H1 2 บาร์มีหางแสดงว่าขาใหญ่ปิดกำไรเพื่อเทส demand ตรงพื้นที่ช้ายมือว่ามีเทรดเดอร์อยากเทรดหรือเปล่า ผ่านไปอีก 2 บาร์สุดท้ายก็ลงอย่างแรงและยังลงแรงแบบด้านบนอีก แสดงว่าเป็นการเข้าตลาด (placing trades) อีกครั้งของขาใหญ่ – เราเลยได้จุดอ้างอิงในการเข้าเทรดเมื่อราคากลับมาเทสที่จุดนี้ พอมาถึงเลข 5 ราคาก็โต้ตอบที่กรอบ demand ช้ายมืออีกแต่ราคาปิดล่างได้ แถมไม่มีราคาเด้งขึ้นด้วยแต่เราก็ตีกรอบเพื่อเป็นจุดอ้างอิง แต่จุดที่เราโฟกัสคือกรอบเลข 4 พื้นที่หลังกรอบเลข 5 ก็เป็นส่วนของบาร์ D1 ที่มีหางทั้งสองข้างยาวๆ หลัง imbalance บาร์ เราก็ pending sell limit ที่กรอบเลข 4 รอราคากลับมาได้แบบ set and forget ได้เลยถ้าเรามองแบบนี้เป็น อีกอย่างหนึ่งต้องไม่ลืมข้อ 5 ที่บอกว่าระยะห่างจากจุด imbalance และราคากลับมาเทสแล้วไม่นานเกินไป

                เลข 1 d1 imbalance บาร์เดียวปิดต่ำกว่ากรอบเลข 2 และได้ trapped positions (trapped traders) ที่เปิด บาย ดูร่องรอยที่ราคาเปิดเผยเพิ่มด้วยการเปิดชาร์ต H1 ก็เป็นการเปิดเทรดชัดที่เลข 3 และตามด้วยเลข 4 ตรงโครงสร้างเป็น supply เหนือ supply ยิ่งจะทำให้พื้นที่ตรงนี้แข็งเพราะมี 2 พื้นที่ที่มี unfilled orders กองอยู่ที่จะช่วยกันหยุดราคาตอนขึ้นมา ถ้าราคาผ่าน supply ล่างมาขึ้นมาถึงตัวบนยิ่งทำให้ supply ตัวบนทำงานดี บาร์ d1 ผ่านไป 3 บาร์ราคามีการเทส supply ล่างตามที่คาด ก็จะมี stop orders ตรงนี้ที่จะทำให้ราคาไปถึง supply ตัวบนได้ง่ายเลยเป็นบาร์ยาวๆ 3 บาร์ตอนราคาไปหา supply ตัวบนก็ได้เงื่อนไขเทรดเปิด sell ได้ หลักการเดียวกันกับตัวอย่างบนแค่โครงสร้างอาจต่างกันออกไปบ้าง

                นี่ก็แบบเดียวกัน  ย้ำ Day trading strategy ที่แนะนำนี้ต้องไม่ลืมข้อ 5 ที่บอกว่าระยะห่างจากจุด D1 imbalance และตอนราคากลับเพื่อเข้าเทรดผ่านมาไม่นาน ท่านจะหา setup ความเป็นไปได้สูงได้ง่าย และสามารถเทรดแบบตั้ง pending orders เปิดเทรดแบบ set and forget ได้เลย

ทีมงาน : www.thaiforexbroker.com